วัดมหาธาตุ (จังหวัดพิจิตร)
วัดมหาธาตุ (จังหวัดพิจิตร)

วัดมหาธาตุ (จังหวัดพิจิตร)

วัดมหาธาตุ เป็นโบราณสถานทางตอนกลางของเมืองพิจิตรเก่า สร้างขึ้นในสมัยสุโขทัยและมีการใช้งานต่อเนื่องถึงสมัยอยุธยา ก่อด้วยอิฐ ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำน่านเก่า[thai 1] สันนิษฐานว่าเป็นวัดที่สำคัญสร้างคู่กับเมืองพิจิตรภายในวัดมหาธาตุประกอบไปด้วยเจดีย์ประธาน เป็นเจดีย์ทรงระฆัง ด้านหน้าทางทิศตะวันตกของเจดีย์เป็นวิหารเก้าห้อง มีคูน้ำล้อมรอบเจดีย์กับวิหาร ด้านหลังเจดีย์ทางทิศตะวันออกเป็นพระอุโบสถ มีใบเสมาสองชั้น ปัจจุบันเหลือเพียงส่วนฐานอุโบสถ ทางทิศตะวันออกของอุโบสถมีสระแฝดหรือสระบัว ก่อนจะถึงกำแพงวัดที่ติดกำแพงเมืองพิจิตรเก่าด้านทิศตะวันออก

วัดมหาธาตุ (จังหวัดพิจิตร)

รูปแบบสถาปัตยกรรม ลังกา
ประเภท โบราณสถาน
ขึ้นทะเบียน 8 มีนาคม พ.ศ. 2478
ที่ตั้ง ทางตอนกลางอุทยานประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตรในสวนรุกขชาติกาญจนกุมาร, ตำบลเมืองเก่า, อำเภอเมือง, จังหวัดพิจิตร
สร้าง พุทธศตวรรษที่ 18 และราวพุทธศตวรรษที่ 20−24
ส่วนหนึ่งของ เมืองพิจิตรเก่า
วัสดุ อิฐ
รายละเอียด ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
สมัย สุโขทัยและ
อยุธยา

ใกล้เคียง

วัดมหาธาตุ วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร วัดมหาธาตุ (อำเภอเมืองยโสธร) วัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดราชบุรี) วัดมหาธาตุ (จังหวัดสุโขทัย) วัดมหาธาตุวรวิหาร (จังหวัดเพชรบุรี) วัดมหาธาตุวชิรมงคล วัดมหาธาตุ (จังหวัดพิจิตร) วัดมหาธาตุ (จังหวัดเพชรบูรณ์)